ชาร์จแบตมือถือหรือโน้ตบุ๊ก...ในห้องนอน..อาจทำให้อ้วนโดยไม่รู้ตัว
ผู้เชี่ยวชาญแนะนำให้เลี่ยงพฤติกรรมกระตุ้นต่อมอ้วนโดยด่วน!!
เล่นมือถือมาทั้งวันพอตกเย็นแบตก็ใกล้จะหมดพอดี เป็นงานให้ต้องเสียบชาร์จแบตในขณะที่เรานอนหลับ หรือบางคนถึงกับชาร์จโทรศัพท์ไปเล่นไปจนในที่สุดก็หลับคาโทรศัพท์ทั้งที่ก็เสียบสายชาร์จแบตอยู่ ซึ่งพฤติกรรมแบบนี้ต้องเตือนเลยว่าอาจทำให้คุณน้ำหนักขึ้นได้อย่างไม่รู้เนื้อรู้ตัวนะคะ รวมทั้งคนที่ชอบชาร์จโน้ตบุ๊กในห้องนอนด้วย เคสนี้ก็ไม่รอดจากความอ้วนด้วยเช่นกัน ยืนยันข้อเท็จจริงจาก NEWSMAX HEALTH ให้ได้กระจ่างชัดตรงนี้เลย
เล่นมือถือมาทั้งวันพอตกเย็นแบตก็ใกล้จะหมดพอดี เป็นงานให้ต้องเสียบชาร์จแบตในขณะที่เรานอนหลับ หรือบางคนถึงกับชาร์จโทรศัพท์ไปเล่นไปจนในที่สุดก็หลับคาโทรศัพท์ทั้งที่ก็เสียบสายชาร์จแบตอยู่ ซึ่งพฤติกรรมแบบนี้ต้องเตือนเลยว่าอาจทำให้คุณน้ำหนักขึ้นได้อย่างไม่รู้เนื้อรู้ตัวนะคะ รวมทั้งคนที่ชอบชาร์จโน้ตบุ๊กในห้องนอนด้วย เคสนี้ก็ไม่รอดจากความอ้วนด้วยเช่นกัน ยืนยันข้อเท็จจริงจาก NEWSMAX HEALTH ให้ได้กระจ่างชัดตรงนี้เลย
หลายคนมีคำถามว่ากับแค่การชาร์จแบตมือถือหรือโน้ตบุ๊กจะพาให้น้ำหนักขึ้นได้ยังไง ผลวิจัยที่ถูกตีพิมพ์ใน Daily Mail ช่วย ตอบได้ค่ะว่า แสงไฟที่ส่องสว่างจากอุปกรณ์ไอทีในขณะที่ถูกชาร์จไฟ สามารถรบกวนการผลิตฮอร์โมนเมลาโทนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนสำคัญของการนอนหลับ และพอร่างกายพักผ่อนไม่เพียงพอ
คราว นี้ก็ถึงตาฮอร์โมนคอร์ติซอล ตัวการที่ทำให้เรารู้สึกหิวบ่อย ๆ ออกอาละวาด บวกกับการทำงานของระบบเผาผลาญก็จะอ่อนล้าลง แล้วอย่างนี้จะไม่ให้ตัวอ้วนอืดยังไงไหว
คราว นี้ก็ถึงตาฮอร์โมนคอร์ติซอล ตัวการที่ทำให้เรารู้สึกหิวบ่อย ๆ ออกอาละวาด บวกกับการทำงานของระบบเผาผลาญก็จะอ่อนล้าลง แล้วอย่างนี้จะไม่ให้ตัวอ้วนอืดยังไงไหว
ทั้งนี้ ดร.ไซมอน ไคล์ ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์การนอนหลับจากมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ยังให้ ข้อมูลเพิ่มเติมมาว่า แสงสีฟ้าจากอุปกรณ์ไอทีอย่างสมาร์ทโฟนและโน้ตบุ๊ก เป็นแสงไฟที่สามารถบั่นทอนการนอนหลับและชะลอระบบเผาผลาญของร่างกาย รวมทั้งยังกระตุ้นให้สมองตื่นตัวขึ้นได้อีกด้วย
นอก จากนี้ผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยเกรนาดา ประเทศสเปน ที่ทดลองฉีดฮอร์โมนเมลาโทนินให้หนูก็พบว่า เมื่อร่างกายมีฮอร์โมนเมลาโทนินเพิ่มขึ้น อัตราความเสี่ยงโรคอ้วนและเบาหวานจะลดลง ซึ่งคล้องจองกับผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ที่เผยว่า การนอนหลับอย่างเพียงพอจะช่วยต้านความเสี่ยงโรคเบาหวานได้อีกทางหนึ่งพอดิบพอดี
เรื่อง อะไรเราจะเพิ่มอัตราความอ้วนให้ตัวเองแบบไม่รู้เนื้อรู้ตัวกันล่ะเนอะ ฉะนั้น ดร. ไซมอน ไคล์ เลยแนะนำให้ปิดอุปกรณ์ไอทีทุกชนิดก่อนเข้านอนราว ๆ 2 ชั่วโมงเป็นอย่างต่ำค่ะ ป้องกันตัวเองไว้ก่อนจะกลมปุ๊กลุกเป็นลูกขนุน
นอก จากนี้ผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยเกรนาดา ประเทศสเปน ที่ทดลองฉีดฮอร์โมนเมลาโทนินให้หนูก็พบว่า เมื่อร่างกายมีฮอร์โมนเมลาโทนินเพิ่มขึ้น อัตราความเสี่ยงโรคอ้วนและเบาหวานจะลดลง ซึ่งคล้องจองกับผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ที่เผยว่า การนอนหลับอย่างเพียงพอจะช่วยต้านความเสี่ยงโรคเบาหวานได้อีกทางหนึ่งพอดิบพอดี
เรื่อง อะไรเราจะเพิ่มอัตราความอ้วนให้ตัวเองแบบไม่รู้เนื้อรู้ตัวกันล่ะเนอะ ฉะนั้น ดร. ไซมอน ไคล์ เลยแนะนำให้ปิดอุปกรณ์ไอทีทุกชนิดก่อนเข้านอนราว ๆ 2 ชั่วโมงเป็นอย่างต่ำค่ะ ป้องกันตัวเองไว้ก่อนจะกลมปุ๊กลุกเป็นลูกขนุน

เอนไซม์กับโรคอ้วน
• เอนไซม์ไลเปส (Lipase) มีหน้าที่ย่อยไขมันและวิตามินที่ละลายในไขมัน เป็นเอนไซม์ที่สำคัญ ควบคุมน้ำหนักโดยเฉพาะ Dr.Galton, Tufts University ได้สรุปยืนยันว่า “คนอ้วนมากเพราะร่างกายขาดเอนไซม์ไลเปส” ไขมันย่อยยากที่สุด
• การกินเอนไซม์เสริมหรือ การกินอาหารสดที่อุดมด้วยเอนไซม์ ช่วยลดความเหน็ดเหนื่อยของตับอ่อนที่ไม่ต้องเร่งผลิตเอนไซม์ไลเปส จนบางครั้งตับอ่อนจะบวมโตกว่าปกติเพราะต้องทำงานหนักเกินไป ตับอ่อน (Pancreas) และตับ (Liver)
• เอนไซม์ไลเปสช่วยคุมน้ำหนักอีกด้วย ควบคุมไขมันชนิดโคเลสเตอรอล (Cholesterol)และไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) ทำให้สารอาหารทั้ง 2 ซึ่งไหลเวียนในเลือดมีปริมาณลดลงจึงไม่ก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน (Atherosclerosis) อันเป็นต้นเหตุสำคัญของโรคหัวใจ (Heart Disease)หรือ โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)
• เอนไซม์ไลเปส (Lipase) มีหน้าที่ย่อยไขมันและวิตามินที่ละลายในไขมัน เป็นเอนไซม์ที่สำคัญ ควบคุมน้ำหนักโดยเฉพาะ Dr.Galton, Tufts University ได้สรุปยืนยันว่า “คนอ้วนมากเพราะร่างกายขาดเอนไซม์ไลเปส” ไขมันย่อยยากที่สุด
• การกินเอนไซม์เสริมหรือ การกินอาหารสดที่อุดมด้วยเอนไซม์ ช่วยลดความเหน็ดเหนื่อยของตับอ่อนที่ไม่ต้องเร่งผลิตเอนไซม์ไลเปส จนบางครั้งตับอ่อนจะบวมโตกว่าปกติเพราะต้องทำงานหนักเกินไป ตับอ่อน (Pancreas) และตับ (Liver)
• เอนไซม์ไลเปสช่วยคุมน้ำหนักอีกด้วย ควบคุมไขมันชนิดโคเลสเตอรอล (Cholesterol)และไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) ทำให้สารอาหารทั้ง 2 ซึ่งไหลเวียนในเลือดมีปริมาณลดลงจึงไม่ก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน (Atherosclerosis) อันเป็นต้นเหตุสำคัญของโรคหัวใจ (Heart Disease)หรือ โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)
สนับสนุนข้อมูลโดย : MIRAZYME #เอนไซม์เร่งการเผาผลาญไขมัน " หุ่นสวย ผอมเพรียว ผิวขาวใส ไม่โทรม”
เอนไซม์และสารสกัดจากธรรม่ชาติ 100% ไม่ใช่ยากลุ่มลดน้ำหนัก เอนไซม์จะช่วยเร่งให้กระบวนการเผาผลาญไขมันในร่างกายให้ทำงานได้ดีขึ้น เน้นการทำงานกับไขมันโดยตรง จึงเป็นการดูแลสุขภาพอย่างปลอดภัย ผิวพรรณผ่องใส ไม่ทรุดโทรม และไม่โยโย่
ดีต่อสุขภาพทั้งภายในและภายนอก
#หุ่นสวย #ผอมเพรียว #ผิวขาวใส #ไม่โทรม ไม่ใช่ยาลดน้ำหนัก เป็นเอนไซม์และสารสกัดจากธรรม่ชาติ 100% เน้นการทำงานกับไขมันโดยตรง ปลอดภัย ไม่โยโย่ดีต่อสุขภาพทั้งภายในและภายนอก
มีการตอบรับจากลูกค้าที่ต้องการลดน้ำหนักแบบถูกวิธีทางการแพทย์..
" ไม่เน้น!!..จำนวนกิโลที่หายไป
เน้นไปที่!!..ไขมันในร่างกายที่ลดลง"
การลดไขมัน..อาจช้า..แต่สัดส่วนและสุขภาพดีตามมาแน่นอน !!
สนใจติดต่อ..
Call center : โทร. 088-536-2211 088-536-3322 088-536-4433 02-444-6544
ID line : Enzyme.co.th
Follow LINE Official ID @jqk0152o : https://bit.ly/2KuayDT
Follow Fanpage Biowist.co.th : https://bit.ly/2w61GRN
Follow Instagram enzymebiowist : https://bit.ly/2Ig6qcm
เอนไซม์และสารสกัดจากธรรม่ชาติ 100% ไม่ใช่ยากลุ่มลดน้ำหนัก เอนไซม์จะช่วยเร่งให้กระบวนการเผาผลาญไขมันในร่างกายให้ทำงานได้ดีขึ้น เน้นการทำงานกับไขมันโดยตรง จึงเป็นการดูแลสุขภาพอย่างปลอดภัย ผิวพรรณผ่องใส ไม่ทรุดโทรม และไม่โยโย่
ดีต่อสุขภาพทั้งภายในและภายนอก
#หุ่นสวย #ผอมเพรียว #ผิวขาวใส #ไม่โทรม ไม่ใช่ยาลดน้ำหนัก เป็นเอนไซม์และสารสกัดจากธรรม่ชาติ 100% เน้นการทำงานกับไขมันโดยตรง ปลอดภัย ไม่โยโย่ดีต่อสุขภาพทั้งภายในและภายนอก
มีการตอบรับจากลูกค้าที่ต้องการลดน้ำหนักแบบถูกวิธีทางการแพทย์..
" ไม่เน้น!!..จำนวนกิโลที่หายไป
เน้นไปที่!!..ไขมันในร่างกายที่ลดลง"
การลดไขมัน..อาจช้า..แต่สัดส่วนและสุขภาพดีตามมาแน่นอน !!
สนใจติดต่อ..
Call center : โทร. 088-536-2211 088-536-3322 088-536-4433 02-444-6544
ID line : Enzyme.co.th
Follow LINE Official ID @jqk0152o : https://bit.ly/2KuayDT
Follow Fanpage Biowist.co.th : https://bit.ly/2w61GRN
Follow Instagram enzymebiowist : https://bit.ly/2Ig6qcm